โครงงาน


แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์

๑.  โครงงานเว็บบล็อกเรื่อง ขนมแนหรำ
๒.  ชื่อผู้เสนอโครงงาน
      ๑.  นายซอบีรี  อาลี  เลขที่ ๖
      ๒.  นายปรมินทร์  กระไรภูมิ  เลขที่ ๑๑
      ๓.  นายฟัยซอล  สุมาตรา  เลขที่ ๑๔
๓.  ครูที่ปรึกษาโครงงาน  ครูเชษฐา  เถาวัลย์ และครูโสภิตา  สังฆะโณ
๔.  หลักการและเหตุผล
      ขนมเจาะหู เป็นขนมชนิดหนึ่งในงานบุญสารทเดือนสิบของไทย ที่สืบทอดกันมาตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย ซึ่งมีความเชื่อกันว่า บรรพบุรุษของตนที่ล่วงลับไปแล้ว บางคนก็ได้รับความสุขสบาย บางคนก็ได้รับความทุกข์ทรมานต่างๆนานาในนรกภูมิ จึงมีการทำบุญเพื่ออุทิศส่วนกุศลไปให้
ขนมเจาะหู มีลักษณะเป็นวงกลม มีรูตรงกลาง คล้ายๆกับเหรียญในสมัยก่อน ทำจากแป้งข้าวเจ้าผสมกับน้ำตาลทรายแดง ทอดด้วยน้ำมัน มีรสชาติหอมหวาน สามารถเก็บไว้ได้นาน แม้จะไม่แช่ไว้ในตู้เย็น และขนมเจาะหูมีลักษณะเหมือนกับขนมท้องถิ่นของชาวจังหวัดสตูลชนิดหนึ่งคือ ขนมแนหรำ
๕.  หลักการ ทฤษฏีและเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
      ๕.๑.  บล็อก          
               ๕.๑.๑  ความหมายของเว็บบล็อก
               ๕.๑.๒  การใช้งานบล็อก
               ๕.๑.๓  ความนิยมของการใช้บล็อก
               ๕.๑.๔  สังคมบล็อก
               ๕.๑.๕  ประโยชน์ของบล็อก
               ๕.๑.๖  บล็อกซอฟต์แวร์
               ๕.๑.๗  บล็อกซอฟต์แวร์ที่เป็นที่รู้จัก
               ๕.๑.๘  ผู้ให้บริการบล็อกที่เป็นที่รู้จัก
               ๕.๑.๙  ผู้ให้บริการบล็อกในประเทศไทยที่เป็นที่รู้จัก
               ๕.๑.๑๐  ชื่อโดเมน (Domain name)
               ๕.๑.๑๑  เวิล ไวด์ เว็บ (www.)
               ๕.๑.๑๒  สื่อสังคม (Social media)
     ๕.๒.  ภาษาเอชทีเอ็มแอล (HTML)
               ๕.๒.๑  HTML    
               ๕.๒.๒  องค์ประกอบของภาษา HTML
               ๕.๒.๓  โครงสร้างของภาษา HTML
               ๕.๒.๔  หลักการเขียนภาษา HTML แบบง่ายๆ 
     ๕.๓.  ขนมแนหรำ      
               ๕.๓.๑  ประวัติของขนมแนหรำ
               ๕.๓.๒  ส่วนผสม
               ๕.๓.๓  วิธีการทำขนมแนหรำ
               ๕.๓.๔  ข้อแตกต่างระหว่างขนมแนหรำกับขนมเจาะหู
๖.  วัตถุประสงค์ของโครงงาน
      ๖.๑  เพื่อเผยแพร่วิธีการทำขนมแนหรำ ผ่านทางอินเทอร์เน็ตในรูปของเว็บบล็อก
      ๖.๒  เพื่อศึกษาวิธีการทำขนมแนหรำ
      ๖.๓  เพื่อหาข้อแตกต่างระหว่างขนมแนหรำกับขนมเจาะหู
      ๖.๕  เพื่อศึกษาถึงประวัติความเป็นมาของขนมแนหรำ
 ๗.  ขอบเขตของโครงงาน
      ๗.๑  รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับขนมแนหรำ และลงพื้นที่
      ๗.๒  ระยะเวลาของการทำโครงงานคือ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕
      ๗.๓  แหล่งค้นคว้าข้อมูลคือ บทสัมภาษณ์ และอินเทอร์เน็ต
๘.  เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนา
     ๘.๑  ใช้รูปแบบของบล็อกในการนำเสนอ ในรูปแบบของเว็บไซต์  เพื่อเป็นแหล่งความรู้และข้อมูลเรื่องขนมแนหรำ
     ๘.๒  โปรแกรมแต่งภาพ Photo Scape ใช้ในการออกแบบรูปภาพ ตกแต่งรูปภาพ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการนำเสนอรายงานในส่วนของเว็บไซต์
     ๘.๓  โปรแกรม Microsoft word 2010  ใช้ในการจัดทำเอกสาร
     ๘.๔  กล้องถ่ายรูป Cannon 1100D
๙.  ขั้นตอนวิธีการดำเนินงาน
การดำเนินการ
วันที่/ระยะเวลาที่ดำเนินการ
ผู้รับผิดชอบ
กำหนดหัวข้อโครงงาน
๑๒ .. ๕๕ – ๑๖ .. ๕๕
ฟัยซอล
เสนอโครงร่างโครงงาน
๑๙ . ๕๕ – ๒๐ .. ๕๖
ปรมินทร์
ลงพื้นที่รวบรวมข้อมูล
๑๖ .๕๕
ฟัยซอล/ซอบีรี/ปรมินทร์
วิเคระห์ข้อมูล
๑๗ .๕๕ – ๑๘ .๕๕
ฟัยซอล
ออกแบบเว็บไซต์
 .. ๕๕ – ๑๑ .. ๕๕
ซอบีรี/ปรมินทร์
พัฒนาเว็บไซต์
๑๕ .. ๕๕ – ๑๐ .. ๕๖
ซอบีรี
ทดสอบและแก้ไขระบบ
๑๓ .. ๕๖
ฟัยซอล/ซอบีรี
นำเสนอโครงงาน
๒๕ .. ๕๖ –  มี.. ๕๖
ฟัยซอล
ประเมินผลโครงงาน
๒๐ .๕๖
ฟัยซอล/ซอบีรี/ปรมินทร์

๑๐.  ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ      
        ๑๐.๑  ได้เผยแพร่วิธีการทำขนมแนหรำผ่านทางเว็บบล็อก
        ๑๐.๒  ได้ทราบถึงวิธีการทำขนมแนหรำ
        ๑๐.๓  ได้ทราบถึงข้อแตกต่างระหว่างขนมแนหรำกับขนมเจาะหู
        ๑๐.๔  ได้ทราบถึงประวัติความเป็นมาของขนมแนหรำ